สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสงขลา สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสงขลา สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสงขลา

เว็บไซต์กรมปศุสัตว์เว็บไซต์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  • Thailand (TH)
  • English (UK)

Follow us on Facebook Follow us on YouTube Follow us on Rss

A- A A+
  • หน้าแรก
  • ข้อมูลองค์กร
    • ข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยงาน
    • ข้อมูลผู้บริหาร
    • บุคลากรในหน่วยงาน
      • กลุ่มพัฒนาคุณภาพสินค้าปศุสัตว์
      • กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
      • กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการปศุสัตว์
      • กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
      • ฝ่ายบริหารทั่วไป
      • บุคลากรสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอเมืองสงขลา
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอสทิงพระ
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอจะนะ
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอนาทวี
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอเทพา
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอระโนด
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอคลองหอยโข่ง
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอกระแสสินธุ์
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอรัตภูมิ
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอสิงหนคร
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอนาหม่อม
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอสะเดา
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอควนเนียง
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอบางกล่ำ
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอหาดใหญ่
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอสะบ้าย้อย
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม
    • หน้าที่รับผิดชอบ
    • เว็บไซต์หน่วยงานในสังกัดกรมปศุสัตว์
    • แผนพัฒนาบุคลากร
    • แผนที่สำนักงาน
    • งบทดรองรายเดือน
    • DLD-C
  • กฏหมายด้านปศุสัตว์
  • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวพระราชกรณียกิจด้านปศุสัตว์
    • ภาพข่าวกิจกรรมของหน่วยงาน
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • ภาพอินโฟกราฟิก/ประชาสัมพันธ์
    • ข้อมูลจัดซื้อจัดจ้าง
    • ข่าวรับสมัครงาน
    • ภาพกิจกรรมสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ
  • บริการประชาชน
    • การให้บริการของหน่วยงาน
    • ศูนย์ข้อมูลข่าวสารกรมปศุสัตว์
    • คู่มือการให้บริการประชาชน
    • ระบบฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์รายครัวเรือน
    • ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์
    • เอกสารเผยแพร่กรมปศุสัตว์
    • ครุภัณฑ์
      • คุณลักษณะครุภัณฑ์การเกษตร
      • สเปคครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
    • คุณลักษณะสัตว์
    • ฐานข้อมูลด้านปศุสัตว์/สถิติ/รายงาน
    • ผลงานวิชาการ
    • ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
    • เกร็ดน่ารู้
    • ค้นหา
    • ดาวโหลดโปรแกรม
    • เคลื่อนย้ายสัตว์
  • ติดต่อสำนักงาน
  • ถาม-ตอบ
    • คำถามที่ถามบ่อย
    • ศูนย์รับข้อร้องเรียน
    • แบบสำรวจความพึงพอใจ
  • ช่วยเหลือ
    • แนะนำการเพิ่มบทความบนเว็บไซต์
    • แนะนำการใช้เว็บไซต์กรมปศุสัตว์
  • แผนผังเว็บไซต์
  • ฐานข้อมูลด้านปศุสัตว์/สถิติ
  • สมัครงาน
  • หนังสือข้อมูลจำนวนปศุสัตว์ในประเทศไทย
  • เอกสารการช่วยเหลือภัยพิบัติ
  • หน้าแรก
  • ข้อมูลองค์กร
    • ข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยงาน
    • ข้อมูลผู้บริหาร
    • บุคลากรในหน่วยงาน
      • กลุ่มพัฒนาคุณภาพสินค้าปศุสัตว์
      • กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
      • กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการปศุสัตว์
      • กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
      • ฝ่ายบริหารทั่วไป
      • บุคลากรสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอเมืองสงขลา
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอสทิงพระ
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอจะนะ
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอนาทวี
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอเทพา
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอระโนด
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอคลองหอยโข่ง
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอกระแสสินธุ์
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอรัตภูมิ
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอสิงหนคร
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอนาหม่อม
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอสะเดา
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอควนเนียง
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอบางกล่ำ
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอหาดใหญ่
        • สำนักงานปศุสัตว์อำเภอสะบ้าย้อย
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม
    • หน้าที่รับผิดชอบ
    • เว็บไซต์หน่วยงานในสังกัดกรมปศุสัตว์
    • แผนพัฒนาบุคลากร
    • แผนที่สำนักงาน
    • งบทดรองรายเดือน
    • DLD-C
  • กฏหมายด้านปศุสัตว์
  • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวพระราชกรณียกิจด้านปศุสัตว์
    • ภาพข่าวกิจกรรมของหน่วยงาน
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • ภาพอินโฟกราฟิก/ประชาสัมพันธ์
    • ข้อมูลจัดซื้อจัดจ้าง
    • ข่าวรับสมัครงาน
    • ภาพกิจกรรมสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ
  • บริการประชาชน
    • การให้บริการของหน่วยงาน
    • ศูนย์ข้อมูลข่าวสารกรมปศุสัตว์
    • คู่มือการให้บริการประชาชน
    • ระบบฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์รายครัวเรือน
    • ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์
    • เอกสารเผยแพร่กรมปศุสัตว์
    • ครุภัณฑ์
      • คุณลักษณะครุภัณฑ์การเกษตร
      • สเปคครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
    • คุณลักษณะสัตว์
    • ฐานข้อมูลด้านปศุสัตว์/สถิติ/รายงาน
    • ผลงานวิชาการ
    • ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
    • เกร็ดน่ารู้
    • ค้นหา
    • ดาวโหลดโปรแกรม
    • เคลื่อนย้ายสัตว์
  • ติดต่อสำนักงาน
  • ถาม-ตอบ
    • คำถามที่ถามบ่อย
    • ศูนย์รับข้อร้องเรียน
    • แบบสำรวจความพึงพอใจ
  • ช่วยเหลือ
    • แนะนำการเพิ่มบทความบนเว็บไซต์
    • แนะนำการใช้เว็บไซต์กรมปศุสัตว์
  • แผนผังเว็บไซต์
  • ฐานข้อมูลด้านปศุสัตว์/สถิติ
  • สมัครงาน
  • หนังสือข้อมูลจำนวนปศุสัตว์ในประเทศไทย
  • เอกสารการช่วยเหลือภัยพิบัติ
  1. คุณอยู่ที่:  
  2. หน้าแรก
  3. ข่าวสารประชาสัมพันธ์
  4. ภาพข่าวกิจกรรมของหน่วยงาน
  5. ภารกิจปศุสัตว์จังหวัดสงขลา

ภารกิจปศุสัตว์จังหวัดสงขลา

จังหวัดสงขลา ทำลายสุกรที่ติดโรคเพิร์ส เพื่อป้องกันการแพร่ระบาด

Empty
  •  พิมพ์ 
  • อีเมล
รายละเอียด
Super User logo
ภาพกิจกรรมของหน่วยงาน1
ภารกิจปศุสัตว์จังหวัดสงขลา
ฮิต: 359


          นายสัตวแพทย์กิติกรณ์ เจนไพบูลย์ ปศุสัตว์จังหวัดสงขลา กล่าวว่า กรณีมีสุกรป่วยด้วยโรคเพิร์ส PRRSในพื้นที่หมู่ 4 ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยพบในสุกรของนายพิชิต วุฒิบุญญะ จำนวน1 ราย เลี้ยงสุกร 238 ตัว ป่วย 13 ตัว ตาย 4 ตัว ด้วยโรคเพิร์ส เนื่องจากเป็นโรคระบาด แพร่กระจายได้เร็ว ชุดควบคุมโรคสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสงขลาร่วมกับปศุสัตว์อำเภอหาดใหญ่ได้ลงพื้นที่เพื่อควบคุมการระบาดของโรค โดยเมื่อวันที่ 4 มิถุนายนที่ผ่านมา ได้สั่งทำลายสุกรทั้งหมด เพื่อลดความเสี่ยงในการระบาดของโรค จำกัดให้อยู่ในวงแคบ ไม่ให้แพร่กระจายไปในวงกว้าง โดยมีการราดน้ำยาฆ่าเชื้อบนตัวสุกรและบริเวณหลุมที่ฝังกลบเพื่อมิให้เชื้อแพร่กระจายออกไป จากนั้นก็จะดำเนินการเบิกเงินชดเชยค่าทำลายสุกรให้กับเกษตรกร โดยภาครัฐจะมีการชดเชยรายได้ให้เกษตรกร ตามพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ 2558 คือจะชดเชยให้ 3 ใน 4 ของราคาหมูในท้องตลาด ณ ปัจจุบัน ทั้งนี้ปศุสัตว์จังหวัดสงขลาย้ำว่า หากพบว่าหมูในฟาร์มของตนเองมีอาการเข้าข่ายของโรคเพิร์ส สามารถแจ้งไปยังปศุสัตว์อำเภอ เจ้าหน้าที่จะมีการลงพื้นที่ไปตรวจสอบ หากพบว่ามีหมูเป็นโรคเพิร์สก็สามารถดำเนินการทำลายและเบิกเงินชดเชยได้
          สำหรับโรคเพิร์ส (PRRS) เป็นโรคที่แสดงอาการทางระบบระบบสืบพันธุ์และทางเดินหายใจในสุกรที่เกิดจากเชื้อไวรัสในตระกูล Arteriviridae ซึ่งเชื้อไวรัสสามารถขับออกมาจากร่างกายของสุกรที่ป่วย ทางอุจจาระ ปัสสาวะ ลมหายใจ และน้ำเชื้อ สามารถติดต่อหรือแพร่ไปยังสุกรตัวอื่นๆ อาการจะมีไข้ ไม่กินอาหาร ท้องเสีย หรือแม่หมูแท้ง ซึ่งเชื้อกระจายได้ ง่าย รวดเร็ว แต่ไม่สามารถติดต่อสู่คนได้ และขณะนี้ปศุสัตว์อำเภอหาดใหญ่ได้แจ้งผู้เลี้ยงสุกรทุกรายในจุดที่เกิดโรคและบริเวณใกล้เคียง สั่งกักสุกรทุกตัว ห้ามเคลื่อนย้ายสุกรออกจากพื้นที่ เพื่อป้องกันการระบาดออกไปสู่พื้นที่อื่น จนกว่าจะไม่พบการระบาดของโรค

 

 

  • Click to enlarge image 1.jpg
  • Click to enlarge image 2.jpg
  • Click to enlarge image 3.jpg
  • Click to enlarge image 4.jpg
  •  
View the embedded image gallery online at:
https://pvlo-sgk.dld.go.th/webnew/index.php/th/news-menu/activity-news-menu/84-2018-06-14-02-37-40?start=200#sigFreeIdf49dd7813b

 

การเสนอข่าวจากสำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดสงขลา

ปศุสัตว์จังหวัดสงขลา ชี้แจงกรณีการแชร์คลิปวิดีโอสุกรตาย อำเภอหาดใหญ่

Empty
  •  พิมพ์ 
  • อีเมล
รายละเอียด
Super User logo
ภาพกิจกรรมของหน่วยงาน1
ภารกิจปศุสัตว์จังหวัดสงขลา
ฮิต: 398

       

      ปศุสัตว์สงขลา แจงคลิปวีดีโอสุกรตายจำนวนมากในหลุมฝังกลบ เป็นมาตรการทำลายสุกรที่ตายจากโรคระบาด โดยเจ้าหน้าที่ทำงานร่วมกับฟาร์ม ยืนยันไม่มีเกษตรกรนำสุกรตายไปชำแหละ พร้อมคุมเข้มห้ามเคลื่อนย้ายสุกรออกจากพื้นที่

          กรณีมีการแชร์คลิปวิดีโอ สุกรตายจำนวนมากในหลุมฝังกลบ พร้อมข้อความว่า "จังหวัดสงขลา อำเภอหาดใหญ่  สุกรติดเชื้อโรคเพิร์ส หรือ PRRS ซึ่งเป็นโรคติดต่ออุบัติใหม่ของสุกรลักษณะเป็นระบบทางเดินหายใจบกพร่อง เมื่อติดเชื้อจะเสียชีวิตทันที จึงต้องทำลายทิ้งทั้งฟาร์ม"

          นายสัตวแพทย์กิติกรณ์ เจนไพบูลย์ ปศุสัตว์จังหวัดสงขลา ชี้แจงว่า คลิปวิดีโอดังกล่าวเป็นการฝังซากสุกรในพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ ซึ่งเป็นสุกรที่ตายจากโรค PRRS ของฟาร์มเลี้ยงแห่งหนึ่ง โดยการฝังกลบเป็นมาตรการที่เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์กับฟาร์มดำเนินการร่วมกัน ในการทำลายซากสุกรที่ตาย แล้ว และสุกรที่มีอาการป่วยแล้วได้รับการฉีดยาให้ตาย ก่อนที่จะทำการฝังกลบ เพื่อเป็นจำกัดโรคระบาดในสุกร ให้อยู่ในวงแคบ โดยฝังซากสุกรในหลุมลึก พร้อมกับใช้ยาฆ่าเชื้อราดบริเวณหลุม ไม่ให้มีเชื้อหลงเหลืออยู่ เพราะฉะนั้น ยืนยันว่า ไม่มีเกษตรกรเลี้ยงสุกรลักลอบนำซากสุกรไปชำแหละบริโภคแต่อย่างใด


ขณะนี้ สำนักงานปศุสัตว์สงขลา ได้มีมาตรการยับยั้งการแพร่ระบาดของโรค PRRS ด้วยการประกาศพื้นที่ควบคุมโรคระบาดสัตว์ พร้อมชี้แจงทำความเข้าใจกับเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร ห้ามไม่ให้มีการเคลื่อนย้ายสัตว์ออกนอกพื้นที่อย่างเด็ดขาด เพื่อป้องกันไม่ให้โรคระบาดขยายวงไปยังพื้นที่อื่น ส่วนถ้าหากมีเกษตรกรรายใด ลักลอบฝ่าฝืนคำสั่ง จะมีความผิดโทษทั้งจำและปรับตาม มาตรา 60 พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2558 จำคุกไม่เกิน 1 เดือนปรับไม่เกิน 1 หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ส่วนเกษตรกรผู้เสี้ยงสุกร หากพบสุกรมีอาการผิดปกติ ซึม เบื่ออาหาร สงสัยว่าเป็นโรค ให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์เข้าไปตรวจสอบในทันที.

 

ปศุสัตว์จังหวัดสงขลา ลงพื้นที่อำเภอสทิงพระ บรรเทาความเดือนร้อนแก้ไขปัญหาโรคอุบัติใหม่ในสุกร

Empty
  •  พิมพ์ 
  • อีเมล
รายละเอียด
Super User logo
ภาพกิจกรรมของหน่วยงาน1
ภารกิจปศุสัตว์จังหวัดสงขลา
ฮิต: 451

 1

    วันที่ 31 พฤษภาคม 2564 นายสัตวแพทย์กิติกรณ์ เจนไพบูลย์ ปศุสัตว์จังหวัดสงขลา พร้อมด้วย นายคณิต ชาระ สัตวแพทย์ชำนาญงาน รักษาการปศุสัตว์อำเภอสทิงพระ ร่วมกับนางสาวพรพิมล ศรีทองช่วย ปลัดอำเภอประจำตำบลคลองรี นายสีห์  อภิชยเศรษฐ์ เลขานุการ รตอ.อรุณ สวัสดี สส.สงขลา เขต 4 และเจ้าหน้าที่ ร่วมพบปะเกษตรกรที่ประสบปัญหาความเดือดร้อนจากการพบโรคระบาดในสุกร ณ ศาลาวัดท่าคุระ  หมู่ที่ 9 ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา เพื่อรับฟังปัญหา และความต้องการให้ทางราชการให้ความช่วยเหลือ ได้ชี้แจงแนวทางบรรเทาความเดือดร้อน และแก้ไขปัญหาโรคอุบัติใหม่ในสุกร ให้กับเกษตรกร

      นายสัตวแพทย์กิติกรณ์ เจนไพบูลย์ ปศุสัตว์จังหวัดสงขลา ให้สัมภาษณ์ว่า ขณะนี้ในพื้นที่ หมู่ที่ 9 ตำบลท่าคุระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา เกิดสถานการณ์โรคระบาด คือโรคเพิร์ส (PRRS) ซึ่งเป็นโรคที่แสดงอาการทางระบบทางเดินหายใจและระบบสืบพันธุ์ อาการจะมีไข้ ไม่กินอาหาร ท้องเสีย หรือแม่หมูแท้ง ซึ่งเชื้อจะกระจายได้ง่ายรวดเร็วและอยู่ได้นาน แต่ไม่สามารถติดคนได้ ปัจจุบันพบสุกรที่ป่วยเป็นโรคเพิร์ส จำนวน ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2564 ประมาณ 20 ตัว ของเกษตรกร 6 ราย และยังไม่มีการแพร่ระบาดออกไปในพื้นที่อื่นๆ ดังนั้นเพื่อป้องกันการแพร่ระบาด เจ้าหน้าที่ได้ลงพื้นที่ตรวจสอบและทำการทำลายสุกรที่ป่วยทั้งหมด 6 ฟาร์มแล้ว โดยภาครัฐจะมีการชดเชยรายได้ให้เกษตรกร ตามพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ 2558 คือจะชดเชยให้ 3 ใน 4 ของราคาหมูในท้องตลาด ณ ปัจจุบัน ซึ่งสัตวแพทย์พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่จะเข้าไปตรวจสอบและประเมินตามขั้นตอนต่อไป


       สำหรับการลงพื้นที่เพื่อพูดคุย ทำความเข้าใจและร่วมแก้ไขปัญหากับเกษตรกรวันนี้ พบว่าหมูในฟาร์มของเกษตรกรในพื้นที่ดังกล่าวมีอาการเข้าข่ายเป็นโรคเพิร์สเพิ่มขึ้นหลายตัว โรคนี้จะไม่นิยมรักษาเนื่องจากเชื้อที่กระจายอยู่ได้นานเป็นเดือน วิธีที่ดีที่สุดคือการทำลาย ทั้งนี้ปศุสัตว์จังหวัดสงขลาย้ำว่า หากพบว่าหมูในฟาร์มของตนเองมีอาการเข้าข่ายของโรคเพิร์ส สามารถแจ้งไปยังปศุสัตว์อำเภอ เจ้าหน้าที่จะมีการลงพื้นที่ไปตรวจสอบ หากพบว่ามีหมูเป็นโรคเพิร์สก็สามารถดำเนินการทำลายและเบิกเงินชดเชยได้ โดยภาครัฐจะมีบริการเมตตาฆ่า คือการทำลายโดยการฉีดยาให้หมูหลับและหัวใจจะหยุดเต้นซึ่งจะไม่ทรมาน จากนั้นจะทำการกรบฝังซึ่งจะเน้นกรบฝังภายในฟาร์มของตนเอง เพื่อป้องกันไม่ให้โรคกระจ่ายไปที่อื่น และจะชดเชยรายได้ให้กับเกษตรกรทุกราย


  • Click to enlarge image 1.jpg
  • Click to enlarge image 10.jpg
  • Click to enlarge image 2.jpg
  • Click to enlarge image 3.jpg
  • Click to enlarge image 4.jpg
  • Click to enlarge image 5.jpg
  • Click to enlarge image 6.jpg
  • Click to enlarge image 7.jpg
  • Click to enlarge image 8.jpg
  • Click to enlarge image 9.jpg
  •  
View the embedded image gallery online at:
https://pvlo-sgk.dld.go.th/webnew/index.php/th/news-menu/activity-news-menu/84-2018-06-14-02-37-40?start=200#sigFreeIdddc7d12e7e

 

คลิกชมภาพข่าวจากสำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดสงขลา

คลิกชมภาพข่าวจากสำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์

ปศุสัตว์สงขลา แจงคลิปฝังซากสุกรที่แชร์ในโซเชี่ยล เป็นมาตรการทำลายสุกรที่ตายจากโรคระบาด อำเภอสทิงพระ

Empty
  •  พิมพ์ 
  • อีเมล
รายละเอียด
Super User logo
ภาพกิจกรรมของหน่วยงาน1
ภารกิจปศุสัตว์จังหวัดสงขลา
ฮิต: 424

       123272

     ปศุสัตว์สงขลา แจงคลิปฝังซากสุกรที่แชร์ในโซเชี่ยล เป็นมาตรการทำลายสุกรที่ตายจากโรคระบาด โดยเจ้าหน้าที่ทำงานร่วมกับฟาร์ม ยืนยันไม่มีเกษตรกรนำสุกรตายไปชำแหละ พร้อมคุมเข้มห้ามเคลื่อนย้ายสุกรออกจากพื้นที่ 

          กรณีมีการแชร์คลิปวิดีโอ สุกรตายจำนวนมากในหลุมฝังกลบ พร้อมข้อความว่า "ชาวสงขลา ซื้อหมูกินช่วงนี้ ต้องระวังหมูเป็นโรคระบาดเพิร์ส (PRRS) ตายเกือบยกฟาร์มที่เขตท่าคุระ อ.สทิงพระ ดีที่เจ้าของฟาร์มรับผิดชอบ ไม่เห็นแก่ได้ ฝังทิ้งทั้งหมด" นายสัตวแพทย์กิติกรณ์ เจนไพบูลย์ ปศุสัตว์จังหวัดสงขลา ชี้แจงว่า คลิปวิดีโอดังกล่าวเป็นการฝังซากสุกรในพื้นที่ ท่าคุระ อ.สทิงพระ จริง ซึ่งเป็นสุกรที่ตายจากโรค PRRS ของฟาร์มเลี้ยงแห่งหนึ่ง โดยการฝังกลบเป็นมาตรการที่เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์กับฟาร์มดำเนินการร่วมกัน ในการทำลายซากสุกรที่ตาย แล้ว และสุกรที่มีอาการป่วยแล้วได้รับการฉีดยาให้ตาย ก่อนที่จะทำการฝังกลบ เพื่อเป็นจำกัดโรคระบาดในสุกร ให้อยู่ในวงแคบ โดยฝังซากสุกรในหลุมลึก พร้อมกับใช้ยาฆ่าเชื้อราดบริเวณหลุม ไม่ให้มีเชื้อหลงเหลืออยู่ เพราะฉะนั้น ยืนยันว่า ไม่มีเกษตรกรเลี้ยงสุกรลักลอบนำซากสุกรไปชำแหละบริโภคแต่อย่างใด
           ขณะนี้ สำนักงานปศุสัตว์สงขลา ได้มีมาตรการยับยั้งการแพร่ระบาดของโรค PRRS ในสุกรพื้นที่ท่าคุระ อ.สทิงพระ ด้วยการประกาศพื้นที่ควบคุมโรคระบาดสัตว์ พร้อมชี้แจงทำความเข้าใจกับเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร ห้ามไม่ให้มีการเคลื่อนย้ายสัตว์ออกนอกพื้นที่อย่างเด็ดขาด เพื่อป้องกันไม่ให้โรคระบาดขยายวงไปยังพื้นที่อื่น ส่วนถ้าหากมีเกษตรกรรายใด ลักลอบฝ่าฝืนคำสั่ง จะมีความผิดโทษทั้งจำและปรับตาม มาตรา 60 พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2558 จำคุกไม่เกิน 1 เดือนปรับไม่เกิน 1 หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ส่วนเกษตรกรผู้เสี้ยงสุกร หากพบสุกรมีอาการผิดปกติ ซึม เบื่ออาหาร สงสัยว่าเป็นโรค ให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์เข้าไปตรวจสอบในทันที.

ปศุสัตว์จังหวัดสงขลา รณรงค์ 5 มาตรการสำคัญในการรับมือโรคอุบัติใหม่ Lumpy Skin Disease (LSD)

Empty
  •  พิมพ์ 
  • อีเมล
รายละเอียด
Super User logo
ภาพกิจกรรมของหน่วยงาน1
ภารกิจปศุสัตว์จังหวัดสงขลา
ฮิต: 343

       

         นายสัตวแพทย์สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์ กำหนด 5 มาตรการสำคัญ ควบคุมโรคลัมปีสกิน ในโค กระบือ Lumpy Skin Disease (LSD) เพื่อการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ 1.ควบคุมการเคลื่อนย้ายสัตว์ 2.เฝ้าระวังการเกิดโรคอย่างใกล้ชิด 3.ป้องกันและควบคุมแมลงพาหะนำโรค 4.รักษาสัตว์ป่วยตามอาการ และ 5. การใช้วัคซีนควบคุมโรคดังกล่าว
         วันที่ 25 พฤษภาคม 2564 นายสัตวแพทย์กิติกรณ์ เจนไพบูลย์ ปศุสัตว์จังหวัดสงขลา ร่วมกับ นายปัญญวัฒน์ เรืองวงศ์โรจน์ ปลัดอำเภอหัวหน้ากลุ่มงานบริหารงานปกครองอำเภอจะนะ นายณัฐชัย วรสุทธิ หัวหน้าด่านกักกันสัตว์สงขลา นายสมศักดิ์ อารมย์ชื่น ปศุสัตว์อำเภอจะนะ นายประชัน ใจประเทือง รักษาการปศุสัตว์อำเภอเทพา และเกษตรกรผู้เลี้ยงโคบ้านแซะ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จำนวน 6 ราย ร่วมรณรงค์ 5 มาตรการสำคัญในการรับมือโรคอุบัติใหม่ โรคลัมปีสกิน (LSD) โดยฉีดพ่นยากำจัดพาหะนำโรค และมอบยาฆ่าแมลง ให้เกษตรกร จำนวน 30 ราย ณ กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเกษมรัตน์ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ได้สร้างการรับรู้ ความเข้าใจ เรื่องการจัดการ ตามแนวทาง 5 มาตรการสำคัญ พร้อมเน้นย้ำเกษตรกร ให้ป้องกันโรคโดยใช้สารกำจัดแมลงทั้งบนตัวสัตว์ และบริเวณโดยรอบฟาร์ม เป็นการเตรียมการรับมือ และสร้างความเชื่อมั่น หากเกิดโรคระบาด โดยไม่สร้างความตื่นตระหนก ให้กับเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดสงขลา

 

  • Click to enlarge image 1.jpg
  • Click to enlarge image 10.jpg
  • Click to enlarge image 2.jpg
  • Click to enlarge image 3.jpg
  • Click to enlarge image 4.jpg
  • Click to enlarge image 5.jpg
  • Click to enlarge image 6.jpg
  • Click to enlarge image 7.jpg
  • Click to enlarge image 8.jpg
  • Click to enlarge image 9.jpg
  •  
View the embedded image gallery online at:
https://pvlo-sgk.dld.go.th/webnew/index.php/th/news-menu/activity-news-menu/84-2018-06-14-02-37-40?start=200#sigFreeId53948bb575

 

คลิกชมภาพข่าวจากสำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดสงขลา

 

คลิกชมภาพข่าวจากสำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์

 

 

เนื้อหาอื่นๆ...

  1. "วันอนุรักษ์ควายไทย 14 พฤษภาคม 2564" ปศุสัตว์จังหวัดสงขลา ตรวจเยี่ยมเกษตรกรเลี้ยงกระบือ
  2. ปศุสัตว์จังหวัดสงขลา ร่วมกับศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดสงขลา รับฟังปัญหาสุกรขาดแคลน
  3. จังหวัดสงขลา ดำเนินโครงการปันอาหารช้างฝ่าวิกฤติโควิด-19
  4. ปศุสัตว์จังหวัดสงขลา ตรวจเยี่ยมเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรในอำเภอควนเนียง
หน้าที่ 21 จาก 30
  • เริ่มต้น
  • ก่อนหน้า
  • 16
  • 17
  • 18
  • 19
  • 20
  • 21
  • 22
  • 23
  • 24
  • 25
  • ต่อไป
  • สุดท้าย

หน้าแรก | ข้อมูลองค์กร | ติดต่อหน่วยงาน | แผนที่ | แผนผังเว็บไซต์ | ติดต่อผู้ดูแลเว็บไซต์

นโยบายเว็บไซต์ | นโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภัย | นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2560 ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 2537 สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสงขลา

170 หมู่ที่ 10 ถนนกาญจนวนิช ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000

โทรศัพท์ / โทรสาร : 074-315728

E-mail  :  pvlo_sgk@dld.go.th